International Journal
 
          C. Kittiyanpunya, P. Leekul, C. Phongcharoenpanich and M. Krairiksh "Beam-Scanning Reflectometer for Detecting Granulated Fruits." IEEE Seneors Journal, Vol. 17, No.5, March 1, 2017.
 
          P. Leekul, S. Chivapreecha, C. Phongcharoenpanich and M. Krairiksh. “Rician k-factors-based Sensor for Fruit Classification by Maturity Stage.” IEEE Sensors Journal Vol.6. pp 6559-6565. 1 Sept. 2016
 
          P. Leekul, S. Chivapreecha and M. Krairiksh. “Microwave Sensor for Tangerine Classification based on Coupled-Patch Antennas.” International Journal of Electronics. Vol. 103. pp. 1287-1300.
 
          P. Leekul, C. Warisarn, K. Boonserm and P. Supnithi , "Effects of Modulation Code and Partial Response Type on the Noise Margin of Read Channel Chip in Magnetic Recording System" Kon Kaen Engineering Journal, October, 2007.
 
International Conference
 
          P. Leekul, M. Krairiksh, "A Sensor for Fruit Classification using Doppler Radar," International Conference on Antenna Measurement and Applications (CAMA) will take place in V?ster?s, Sweden, from 3 - 6 Sep. 2018.
 
          P. Leekul, M. Krairiksh, "Measured natural frequencies of mangosteens," Asia-Pacific Conference on Antennas and Propagation (APCAP) Auckland, New Zealand on 5 - 8 Aug. 2018.
 
          P. Leekul, M. Krairiksh, "A sensor for continuous fruit classification using Rician k-factor," International Symposium on Antennas and Propagation (ISAP) Paradise Hotel Busan, Busan, Korea on Oct. 23 - 26, 2018.
 
          Thunyawat Limpiti, Ajalawit Chantaveerod and Prapan Leekul, “A High-Gain Double Reflectors Microstrip-Fed Slot Antenna for WLAN and WiMAX Applications,” 2017 International Symposium on Antennas and Propagation, 30 Oct. – 2 Nov. 2017, Phuket, Thailand
 
          P. Leekul, and M. Krairiksh. “Analysis of a sensor for fruit classification using Rician k-factor in a continuous process”, Proc. IEEE International Conference on Antenna Measurements & Applications (CAMA), 2016.
 
          P. Leekul, S. Chivapreecha, and M. Krairiksh "Microwave Sensor for Defected Fruit Classification" Microwave Sensor for Defected Fruit Classification" IEEE International Conference on Antenna Measurement & Applications (CAMA), 30 Nov - 2 Dec, 2015.
 
          R. Inrun, R. Vichianchai, P. Leekul, P. Yoiyod, C. Kittiyanpunya, and M. Krairiksh. “A Reflectometer Using Antenna Mixers.” IEEE International Conference on Antenna Measurement & Applications (CAMA), 30 Nov - 2 Dec, 2015.
 
          P. Leekul, P. Soontornwong and S. Chivapreecha. " Low Complexity Artificial Neural Network Unit for Sugar Content Detection in Microwave Sensor," Asia-Pacific Signal and Information Processing Association, 2014 Annual Summit and Conference (APSIPA).
 
          P. Leekul, T. Limpiti, T. Tantisopharak, P. Yoiyod, S. Chivapreecha, C. Phongcharoenpanich, and M. Krairiksh “Remote sensing of the physical qualities of fruits,” Asia-Pacific Microwave Conference (APMC), 4 – 7 Nov, 2014.
 
          P. Leekul, and M. Krairiksh, Tapan K. Sarkar, “Application of the Natural Frequency Estimation Technique for Mangosteen Classification” Proc. IEEE Asia-Pacific Conf. Ant. And Prop. (APCAP), 26-28 Jul, 2014.
 
          P. Leekul, P.Yoiyod, S. Chivapreecha, C. Phongcharoenpanich, P. Youryon, K. Bunya-atichart, and M. Krairiksh, “Scattered Waves from Different Maturity Stages of Fruits,” Proc. IEEE Asia-Pacific Conf. Ant. And Prop. (APCAP), pp.153-154, Aug. 2013.
 
          P. Leekul and M. Krairiksh, “Microwave Sensor for Orange Classification” Proc of AEMC 2011, Calcutta, 2011.
 
          P. Leekul and M. Krairiksh, “Microwave Sensor for Fruit Classification,” Asia-Pacific Radio Science Conference 2010 (AP-RASC’10) Toyama, Japan, September 22-26, 2010.
 
          W. Singhaudom, P. Leekul and P. Supnithi, “IMAC Hardware Design and Performance in Perpendicular Recording System,” International Conference on Magnetism 2008 (Intermag 2008), Madrid, Spain, May 4-7.
 
          P. Leekul, S. Chiwapreecha, K. Sripimanwat, and P. Supnithi, “Subblock Encoder Design of Modified Array-Based Low-Density Parity-Check Codes,” ECTI-ECON 2007, Chiangrai, Thailand, May 9-12.
 
วารสารวิชาการระดับชาติ
 
          ประพัน ลี้กุล และ พรพิมล ฉายแสง, “การประยุกต์ใช้งานสายอากาศโมโนโพลสำหรับระบบควบคุมความชื้นอัตโนมัติในโรงเรือนเพาะเห็ด,” วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ฉบับที่ 26(1), มกราคม-มีนาคม 2561, หน้า 118-127.
 
          ประพัน ลี้กุล, “การประยุกต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียมเพื่อคัดแยกคุณภาพนมจากคุณสมบัติไดอิเล็กตริก,” วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม : เทพสตรี, ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2559.
 
งานประชุมวิชาการระดับชาติ
 
          ประพัน ลี้กุล และ พรพิมล ฉายแสง, "การประยุกต์ใช้ค่าสัมประสิทธิ์การส่งผ่านของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อแบ่งระดับความชื้นข้าวเปลือก," การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 5, 8-9 มีนาคม 2561, อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์.
 
          ประพัน ลี้กุล, “การประยุกต์ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับตรวจสอบการปนเปื้อนของนม,” การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 10, 14 ธันวาคม 2560.
 
          พรพิมล ฉายแสง ประพัน ลี้กุล ปรมินทร์ วงษ์เจริญ และ พิชชานันท์ วงศ์ศิริธร, “การตรวจสอบความชื้นข้าวเปลือกจากสัมประสิทธิ์การสะท้อนของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า,” การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 10, 14 ธันวาคม 2560.
 
          พรพิมล ฉายแสง และ ประพัน ลี้กุล, “ผลกระทบของความชื้นในอากาศต่อการส่งผ่านคลื่นไมโครเวฟในโรงเรือนเพาะเห็ด”, การประชุมสวนสุนันทาวิชาการระดับชาติด้าน "การวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน" ครั้งที่ 4, 26 สิงหาคม 2559.
 
          ประพัน ลี้กุล ชานนท์ วริสาร และ ผศ.ดร. พรชัย ทรัพย์นิธิ, “ผลกระทบของอัตรารหัสมอดูเลชันและพัลส์ช่องสัญญาณต่อส่วนเผื่อสัญญาณรบกวนของชิพช่อง สัญญาณอ่านในระบบการบันทึกข้อมูลเชิงแม่เหล็ก", NACS 2007, National Science Park, Thailand, March 29-30.
 
งานวิจัย
 
          ระบบเซนเซอร์ไมโครเวฟเพื่อควบคุมความชื้นอัตโนมัติในโรงเรือนเพาะเห็ด, งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี, ปีงบประมาณ 2561, หัวหน้าโครงการ.
 
          ระบบตรวจสอบคุณภาพนมด้วยไมโครเวฟเซ็นเซอร์, โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชมชนฐานราก สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, ปีงบประมาณ 2559, หัวหน้าโครงการ.
 
          การประยุกต์ใช้งานสายอากาศโมโนโพลย่านความถี่ UHF สำหรับระบบควบคุมความชื้นอัตโนมัติในโรงเรือนเพาะเห็ด, กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี, ปีงบประมาณ 2559, ผู้ร่วมวิจัย.